|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญในตำบลประดู่ยืน ได้แก่ |
|
|
 |
ลำห้วยทับเสลา |
|
|
 |
คลองวังรี |
|
|
 |
คลองเขาฆ้องชัย |
 |
|
 |
|
|
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ลำห้วย |
จำนวน |
6 |
แห่ง |
|
 |
สระน้ำเอกชน |
จำนวน |
236 |
แห่ง |
|
|
 |
เหมือง |
จำนวน |
28 |
แห่ง |
|
 |
บ่อบาดาลสาธารณะ |
จำนวน |
43 |
แห่ง |
|
|
 |
ลำคลอง |
จำนวน |
11 |
แห่ง |
|
 |
บ่อบาดาลเอกชน |
จำนวน |
180 |
แห่ง |
|
|
 |
บ่อน้ำตึ้นสาธารณะ |
จำนวน |
96 |
แห่ง |
|
 |
ฝายน้ำล้น |
จำนวน |
22 |
แห่ง |
|
|
 |
บ่อน้ำเอกชน |
จำนวน |
303 |
แห่ง |
|
 |
อ่างเก็บน้ำ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
 |
สระน้ำสาธารณะ |
จำนวน |
15 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|
    |
 |
 |
ตำบลประดู่ยืนมีเส้นทางติดต่อกับอำเภอลานสักจำนวน 2 เส้นทาง
ซึ่งระยะทางจากองค์การบริหารส่วนตำบลประดู่ยืนประมาณ 7 กิโลเมตร
เส้นทางการคมนาคมในตำบลมีดังนี้ |
 |
|
 |
ถนนลูกรัง |
จำนวน |
87 |
สาย |
|
 |
ถนนลาดยาง |
จำนวน |
5 |
สาย |
|
 |
ถนนคอนกรีต |
จำนวน |
20 |
สาย |
|
|
|
 |
    |
 |
|
 |
ป้อมยาม/ป้อมตำรวจ จำนวน 1 แห่ง อยู่ที่หน้าที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลประดู่ยืน |
|
 |
อาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือน (อปพร.) |
|
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
|
ประชากรในตำบลประดู่ยืน ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ปลูกข้าว
โพด มันสำประหลัง อ้อย เป็นต้นและนับถือ
ศาสนาพุทธโดยมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ ทำ
ให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข การตั้งถิ่นฐานของ
ประชากรตำบลประดู่ยืนมีลักษณะการตั้งบ้าน
เรือนแบบชนบทโดยทั่วไปเป็นแบบกระจาย
ตามพื้นที่เกษตรกรรมของตนเอง และตาม
เส้นทางคมนาคมภายในตำบล |
|
|
|
 |
|
 |
|
|
 |
ดิน |
|
ตำบลประดู่ยืน มีแหล่งน้ำธรรมชาติ ที่สำคัญ และสามารถใช้ประโยชน์ในทาง
การเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ลำห้วยทับเสลา
ลำคลองวังรี ลำคลองชัย |
|
 |
แร่ |
|
ตำบลประดู่ยืนมีแร่ธาตุธรรมชาติ คือ แร่หินแกรนิต อยู่ที่หมู่ที่ 6 บ้านหนองแหน |
|
 |
ดิน |
|
สภาพดินในตำบลประดู่ยืนสามารถที่
จะจำแนกออกได้ดังนี้ |
|
- ดินตื้นถึงลึก มีการเก็บน้ำได้ดี พบใน
ดินสภาพลานเอียง มีแนวลำเหมืองธรรมชาติ
ไหลผ่านทางทิศตะวันตกสู่ทิศตะวันออก พื้น
ที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูกทำการ
เกษตร
ตำบลประดู่ยืน
สามารถทำนาได้ปีละ 3 ครั้ง |
|
 |
สัตว์ป่า |
|
เนื่องจากสภาพส่วนใหญ่ของตำบล
ประดู่ยืน มีลักษณะเป็นพื้นที่การเกษตรเกือบ
90 %
ดังนั้นสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ จึงมีอยู่น้อย
มาก |
|
|
 |
|