|
|
จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ 6,431 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100
ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |
|
|
|
|
|
 |
|
|
   |
    |
 |
 |
|
|
|
ในเขตตำบลประดู่ยืน มีประปาหมู่บ้าน ใช้ครบทุกครัวเรือน |
|
|
 |
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขตำบล จำนวน 1 แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
อินเตอร์เน็ตประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง |
|
|
 |
    |
 |
|
ตำบลประดู่ยืนมีทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
มีศักยภาพที่จะพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีความ
งดงามตามธรรมชาติ
นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งผลิตพืชผลทางการ
เกษตรที่ขึ้นชื่อ และเป็นที่นิยมของคนไทย ได้แก่ ข้าวปลอดสาร
พิษ ข้าวโพด อ้อย ฯ |
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
|
ประชากรในตำบลประดู่ยืน ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ปลูกข้าว
โพด มันสำประหลัง อ้อย เป็นต้นและนับถือ
ศาสนาพุทธโดยมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ ทำ
ให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข การตั้งถิ่นฐานของ
ประชากรตำบลประดู่ยืนมีลักษณะการตั้งบ้าน
เรือนแบบชนบทโดยทั่วไปเป็นแบบกระจาย
ตามพื้นที่เกษตรกรรมของตนเอง และตาม
เส้นทางคมนาคมภายในตำบล |
|
|
|
 |
|
 |
|
|
 |
พื้นที่ของตำบลประดู่ยืนเป็นพื้นที่ ราบลุ่ม เหมาะแก่การเกษตร |
|
 |
ตำบลประดู่ยืนสามารถทำนาได้ปีละ 3 ครั้ง |
|
 |
ผู้นำตำบลประดู่ยืน มีความเข้มแข็ง สามารถพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็ง
แก่ชุมชนที่ยั่งยืนได้ |
|
|
 |
|